วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Assignment 4


ให้นักศึกษาไปค้นซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้ในงานด้านต่างๆมาคนละ 3 โปรแกรมต่างงานกัน ยกตัวอย่างงานที่เกิดจากโปรแกรมนั้นๆมาด้วย แสดงภาพตัวอย่างงานที่เกิดจากโปรแกรมนั้นๆมาด้วย


https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjibYPwXUV0ltZpicXf_8RrgWFe3WGw3PV7iilnpoq3ObIGxEBqEL5i0cKbruGeNxULyqWGvveRVnl8BJxyH5evlx640oX41oic8HUjScXz4HP0oh66YWxgSbc4DDl8c1HUxlf-kEExBit7/s1600/download+1.jpg
Flash

การสร้างสื่อการเรียนรู้ สื่อนำเสนอ หรืองานออกแบบต่างๆ ย่อมจะหนีไม่พ้นการออกแบบ สร้างสรรค์งานกราฟิก หากสามารถสร้างงาน ออกแบบงานกราฟิกด้วยตนเอง คงจะสร้างความ
ภูมิใจได้มาก แต่ปัญหาใหญ่ของการสร้างสรรค์งานกราฟิกของหลายๆ ท่านก็คือ “วาดภาพไม่เป็นหรือสร้างผลงานไม่ได้” แต่ด้วยความสามารถของโปรแกรม Macromedia Flash เครื่องมือช่วยสร้างสรรค์งานกราฟิกที่ง่ายในการเรียนรู้
และประยุกต์ใช้งาน พร้อมๆ กับแนวทางการวาดภาพจากคู่มือฉบับนี้ จะลืมคำว่า “วาดยาก” ไปเลย เนื่องจาก Flash เป็นซอฟต์แวร์สร้างสรรค์งานกราฟิกในฟอร์แมต Vector ที่ภาพกราฟิกทุกภาพประกอบจากเส้นโครงร่างที่ทำให้การปรับแต่ง แก้ไข หรือ
ออกแบบภาพ ทำได้ง่ายด้วยเทคนิค “ตัด เชื่อม ปรับเปลี่ยนรูปร่าง
Macromedia Flash CS3 เป็นผลิตภัณฑ์ล่าสุดจากค่าย Macromedia ที่พัฒนามาเพื่อสนับสนุนการสร้างงานกราฟิก ทั้งภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว สำหรับการนำเสนอผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตFlash มีฟังก์ชันช่วยอำนวยความสะดวก ในการสร้างผลงานหลากหลายรูปแบบตลอดจนชุดคำสั่งโปรแกรมมิ่งที่เรียกว่า Flash Action Script ที่เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และสามารถคอมไพล์ (Compile) เป็นโปรแกรมใช้งาน (Application Program) เช่น การทำเป็น e-Cardเพื่อแนบไปพร้อมกับ e-Mail ในโอกาสต่างๆ
การเรียกใช้โปรแกรม Flash

การเรียกใช้งานโปรแกรม Flash มีหลักการคล้ายๆ กับการเรียกโปรแกรมทั่วๆ ไปของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ โดยเริ่มจากการคลิกปุ่ม Start จากนั้นเลื่อนไปคลิกที่รายการ
Program, Adobe Flash CS3 Professional 
รอสักครู่จะปรากฏหน้าต่างการทำงาน ซึ่งมีโหมดการทำงานให้เลือกได้หลายลักษณะได้แก่• การเปิดไฟล์จากคำสั่ง Open a Recent Item
• 
การสร้างงานผลงานจากรายการ Create New
• 
การสร้างผลงานแม่แบบ Create from Template

จอภาพการทำงานของ Flash

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEj0Z1eoAQKEo6jpcH68lp7wY82w9ILYzCudeY3J32gyZnk657ZKQ_HPJ3TuRkMC2LvZBIR4PzKV0skIoMl39J6COOPnigwlz4FqezWQeDD1r71iNZVp6tyEKZqKFRmdFcVbALBHR-tW3bTU/s320/fash.JPG

เมื่อคลิกเลือกการสร้างผลงานใหม่ของ Flash จากรายการ Create New Flash File จะ ปรากฏส่วนประกอบจอภาพการทำงานดังนี้
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEilv8vldQG5oPCS6-k-G7mZK4OtgXBCD7pfRGdRzYcY5J_gEW8w9G-uyz8bsoKombr1mQWs0ix5x11Anqz9GS6HXRRWxRW8V9Tiy9szCcuSlC2Uk7FHkmaLFFGaNQlgBB0Wzu8pA3mdcxwX/s320/fash-1.JPG

วีดีโอการใช้งาน Flash เบื้องต้น




https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEj9tcGmHuPpbB0IpHfCgsE0gos49fH05_cs0Wlp_EZI9Vfk8PggUljq0nNp-Owha_51jaBQJCY6hqHqYD-DPdtNu5z5nrAI0GvuMdAlswCzkdbs0VCby8RVdFpy56mofx6dPSYVRmynvVkG/s1600/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E+google.jpg

Google Earth

Google Earth เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ ดูภาพถ่ายองทุกมุมโลก จากดาวเทียม ซึ่งมีความละเอียดสูงมาก สามารถ ขยายภาพ จากโลกทั้งใบ ไปสู้ประเทศ และลงไปจนถึงวัตถุเล็ก เช่น ถนน ตรอก ซอกซอย รถยนต์ บ้านคน
Google Earth 
ยังใช้งานง่ายและ สะดวกในการนำไปประยุกต์ในการเรียนการสอนได้ จึงเหมาะสำหรับ อาจารย์ และ นักเรียน ที่จะใช้ในการสอนและการเรียนในวิชาต่าง ๆ
*Google Earth จะใช้งานได้ต่อเมื่อ เครื่องได้ทำการ เชื่อมต่อ Internet อยู่เท่านั้น เพราะรูปถ่ายจากดาวเทียมต่างๆ จะ ถูกส่งมาให้เรา ทาง Internet ในขณะที่เราเลือกดูส่วนต่างๆของโลก

Download Google Earth 
ได้ที่ http://earth.google.com/
*
คลิกที่ปุ่ม I'm good. Download Google Earth.exe หลังจาก Download เสร็จเรียบร้อย ให้ทำการติดตั้งตัวโปรแกรม
เมื่อติดตั้งเสร็จจะมี Icon Google Earth  ที่ Desktop

หน้าจอหลักและการใช้งานเบื่องต้น


https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhGtQOFatWJr06EoPZpt7qHfnsLwBoiJ8RkK5tYH_q7N_tuZet5nGTlB8fYKq1pGPIWuuHtbNl3nQl4pTFB4Zecjb_Fh9WNfkpSoA5-4vXyC6oCFZDpbDQyJFHgIpKfJE3k9tmpiDO-sASH/s320/earth_1.jpg

หลังจากที่เข้าสู่โปรแกรมจะเห็น ลูกโลก ซึ่งเราสามารถใช้ Mouse หมุนลูกโลกไปในทิศทางต่าง
เพื่อไปยัง ประเทศ ที่เราต้องการ
1. 
นำ Mouse เข้าไปที่ลูกโลก แล้ว Mouse จะกลายเป็นรูปมือ
2. 
คลิกค้างไว้ แล้ว เลื่อน Mouse เพื่อหมุนโลก
แถบแจ้งสถานะ Status ) ของโปรแกรม Google Earth

แถบแจ้งสถานะ (Status )ของโปรแกรม Google Earth

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgLXpBsn0vJDzZWMFs_yfe0vKoFimiNxpRnIAOMx4or-BbV8JTAFggtDkFILrbzCgrPzqsQuVCxznnRvBNJGp6at5uhYhOXy4ASnq7jqY8eduSJ8Uc1kljB8VmWyfcmljROy58W-mAoFZhH/s320/earth_staus.jpg

Pointer จะเป็นการ ระบุตำแหน่งว่า Moise ของเราอยู่ที่ ตำแหน่งพิกัดที่เท่าไหร่ บนโลก ใช้เพื่ออ้างอิง กับตำแหน่งเบริงๆบนพื้นโลกได้(GPS)
Streaming 
จะบอกว่าเรากำลัง โหลด รูปถ่ายจาก Internet อยู่ ซึ่งต้องรอจนกว่าจะ 100% เพื่อจะได้ เห็นภาพในตำแหน่งนั้นๆ ได้ชัดที่สุด
*
ความเร็วในการโหลดภาพจะช้าเร็วขึ้นอยู่กับความ เร็วของ Internet และความหนาแน่นของการใช้งานInternet ในขณะนั้น
Eye alt ระยะห่างจากพื้นโลกในมุมมองขณะนั้น

การใช้เครื่องมือในการดูแผนที่

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgl9R2VB1uq9jGRfwvb6ofxjCflcy2-Q3z0epfAE0cyXQ8W4u7tGBm42AxRkmErxL-5ERr6UI0bXRqoJlhFghwSJPCr8BH9NbIsmqGbWTV96V4eAVgMbKodUEt1Vb7FffRaoNfWi9IAT63w/s1600/earth_zoom.jpg

ใช้ในการ
 Zoom เข้าออก เพื่อดูรายละเอียดใน ระดับที่ต้องการโดย คลิกที่ + เลื่อยๆ ภาพจะยิ่งขายใหญ่ ใกล้มากขึ้น และ คลิกที่ - เพื่อย่อขนาดในขณะที่ Zoom เพื่อดูรายละเอียด โปรแกรมจะทำการ โหลด ข้อมูลภาพถ่ายจาก Internet ซึ่งต้องใช้ เวลา และภาพก็จะค่อยๆชัดขึ้น

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiw4-2MSIpiEsAiCe7e1bIE4OYkcigC7YWPHQgFvkKbhaFB2sbs8Jy00juQk3rd1K8okae-8TXlWr3AyKKEbU8gEtPKEg2lTFse0mTIzrGWDxSxrIG0rhNjLg8JNddb-Auo8VexU7o0kpyQ/s1600/earth_pan+1.jpg

ใช้ในการเลื่อนมุมมองไปในทิศทางต่างๆในขณะที่เลื่อนมุมมอง โปรแกรมอาจจะโหลดข้อมูลจาก
 Internetเช่นกัน

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgAmZEz_4velkF_BKRXRg6gFAcGrZzP-rtRxQrIVq3p_1Moei3Fki0wXyFBn5scxYiLJEjinG_TPXqc7UCJjXBxzI1r8k0jrrMEjoJk2njsIGeTzO_SJegyOo9W_cjaPI9ZQROPMx1mQcOn/s1600/earth_r.jpg

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjchNPpdLcTQ_PSqMLii1O_nNLIzQKhHnA9yFT7dbJ22EH5jrC59Rq3OtdUgWfshHv9A4_FcuP7jn14weuVHEM0MsIxtqs9JdVngYVf_qq_TYlAt367BHh95yF63ZpEL9aGZeXZ8IO8Dc0L/s1600/earth_l.jpg

ใช้เพื่อหนุนแผนที่ไปทิศทางซ้าย และ ขวา

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiEnaGtlVVlzNJ0gJE8ywaqtKBxEPGsLZJem2yjYQbjQ8I1OgTd1PrB7RGdCA-LiAf1jZZJt66kT5Xy8dZivZoNdl0uc3OtCddlsYycuFKWItP7I4_qeSJ7rqW-35894-oN-MyI_8K-R0CZ/s1600/earth_n.jpg

ใช้เพื่อให้ แผนที่ หมุนกลับไป ให้ ทิศ เหนืออยู่ด้านบนเหมือนเดิม

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgoL6L3sBemJNBG6AhiTsjovIs9tVCZpwi9e4lRGHlNamuskAltZZ2OpPx1Q8haIy07STfehUqXmcvreZ4hTXBdVzPB3B3bv84kvWcR7_rNhEaMaxEBveVjdFju2dShM7KobWX2l2sB1PEm/s1600/earth_t.jpg

ใช้ปรับองศาในการมองแผนที่ ว่าจะมองจาง มุม กี่ องศา

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEg24VlJBV_HyhjOW2MUQi2p7DJ54OLTyj1QqyFxIz48T6uGLZ_MVKgfVC6oDFwQ2qnoZThE761eHsZXdF1yZ0staDJVkvQGWUoJAdm3MSEfRK5kGlZMpbuLs0WjRz4BFyn7-NuGjXK6dHlo/s1600/earth_rt.jpg

ใช้ปรับองศาในการมองแผนที่ ให้กลับไป เป็นตามปกติ

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEi6i0GnDsWj2CkQQdFNmh_snNpGtg-Vykwu4aqNX72T0Kf9NzKA61T2EJHq0O9kaVbVD2-xcHcG4X4k0nME54vi40CxCB4JJtC4tr46eIJS4o3t9bK7ZNw8YJV1FdzmoXVrw7hnvh8ZUphV/s320/earth_pk.jpg

ตัวอย่างการ การขยายเพื่อดูภาพโรงเรียน ปากเกร็ด จากความสูง 2025tt

การใช้ Search ในการค้นหาตำแหน่ง
นอกจากการหมุนโลกเพื่อหาตำแหน่ง เรายังสามารถให้ โปรแกรมวิ่งไปที่เมืองที่ต้องการได้ โดยการ
1.
 ใส่ ชื่อเมือง ที่ต้องการ ลงไปในช่อง Local Search
2.
 กด Search ถ้าใส่ชื่อเมืองถูกต้อง โปรแกรมจะหมุนโลกไปใน ตำแหน่งนั้น โดยอัตโนมัติ

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiI8Wd0ri9QvF-AksqnGpLESGTO0dE8xFHFzh1sWDIH9rNjHNCOb3_qBKKgIjaCPFwHr9DKhxeiAk9WHEh8QAkATd3Px1E0jp6jMLqMx-Ge3ezKZQKzlcvJYYtwcBapTSlTnNCq2T86WrfT/s320/earth_ny.jpg

ตัวอย่างการใช้ Local Search เพื่อค้นหา เมือง New York 

ด้วยการใส่ คำว่า New York แล้วกด Search 


SPSS 10.0.1

โปรแกรม SPSS เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติอีกโปรแกรมหนึ่ง สำหรับเวอร์ชัน10.0.1 ใช้กับปฏิบัติการ Window 95 ขึ้นไป หน่วยประมวลผลกลางขั้นต่ำ คือ เพนเทียม โดยมีหน่วยความจำ32 เมกกะไบต์ และพื้นที่ว่างในฮาร์ดดิสค์อย่างน้อย 68 เมกกะไบต์
• การเริ่มต้นสู่โปรแกรม
เมื่อคลิกที่โปรแกรม SPSS จะเข้าสู่โปรแกรมดังรูป ซึ่งหากมีแฟ้มข้อมูลเดิม จะสามารถเลือกจากหน้าต่างนี้ หากต้องการเริ่มต้นใหม่ ให้คลิก Cancel เพื่อเข้าสู่ส่วนตารางทำงาน หรือที่เรียกว่า Data Editor

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEg4cjjsZpadlLED2CjlOkXxZEWUh_ktYHlNI5LeNaSur_vWtzBN5JbDL24XdnRVA3ZmLn1smDL-KrCqfNHG8sB1dXkLebrtzYnTjaBNic_AjGuXCPtoFYlcyOUvBX9mV8m92AB7zwQZ0NFm/s320/INDEX_CLIP_IMAGE002.JPG

รูปที่1.8 เริ่มต้นโปรแกรม SPSS

• ข้อกำหนดโปรแกรมทั่วไป
SPSS แบ่งส่วนที่ใช้ป้อนข้อมูลเป็น sheet 2 ส่วน หรืออาจเรียกเป็น Tab ได้แก่
Data View เป็นส่วนสำหรับใส่ข้อมูลซึ่งแสดงชื่อตัวแปรเป็น Var ทุกคอลัมน์เมื่อทำการป้อนข้อมูล จะเปลี่ยนเป็น Var00001 Var00002 … หากต้องการกำหนดชื่อตัวแปรเป็นอย่างอื่น ให้เลือกที่ Variable View จาก Sheet Tab ส่วนแถวจะอ้างอิงตั้งแต่ 1, 2, 3 ไปเรื่อย ๆ อย่างไรก็ตาม หากพบว่าตัวอักษรที่แสดงชื่อตัวแปรหรือแถว มีขนาดเล็กมองไม่สะดวก สามารถเปลี่ยนได้โดยการเลือกเมนู View \ Fonts… เพื่อเลือกชนิดอักษรและขนาดตามต้องการ ( แนะนำให้ใช้ MS San Serif ขนาด 10 point)
Variable View เป็นส่วนที่กำหนดลักษณะเฉพาะต่าง ๆ ของตัวแปร ได้แก่ ชื่อตัวแปร (มีได้ไม่เกิน 8 ตัวอักษรรวมตัวเลข โดยห้ามเว้นช่องว่างหรือวรรค และห้ามมีสัญลักษณ์อื่น ๆ เช่น วงเล็บ เครื่องหมายบวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น ) จำนวนทศนิยมความกว้างของคอลัมน์ Label ( ใช้ระบุรายละเอียดของตัวแปรซึ่งจำกัดเพียง 8 ตัวอักษร แต่ Label สามารถพิมพ์ข้อความได้มากกว่า รวมทั้งมีช่องว่างหรือสัญลักษณ์ใด ๆ ได้ ) เป็นต้น
• การนำข้อมูลเข้าสู่ Work sheet หรือ Data Editor
สำหรับการนำข้อมูลเข้าสู่ Data Editor สามารถทำได้หลายวิธี แต่ 2 วิธีที่นิยม ได้แก่
• การเปิดไฟล์จากไฟล์ประเภทอื่น

โดยโปรแกรม SPSS สามารถที่จะเปิดไฟล์ได้หลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นไฟล์จากโปรแกรม Excel, Lotus, Sysstat หรือ Dbase สามารถเปิดได้โดยใช้เมนู File \ Open \ Data จากนั้นเลือกชนิดของไฟล์ เลือก Driveและ Folder ให้ถูกต้อง

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhzd7b8BqK3pvM_TrI4zsqiKAbfQky-_ZRJaSZJryK0hVVptOcwPoE8H12QTZwnejvSre5y_79FzHrn8bAObkcW9hd9Rye3MTOhoLwm8v1ZFRiXXtGA2vJ9leaRrCcW4C5qn7E3QxI-5E7h/s320/PICDATASHEET.JPG

รูปที่ 1.9 Data Editor ใน SPSS 10.0.1
• การป้อนข้อมูลโดยตรง
ในการป้อนข้อมูล หากต้องการป้อนข้อมูลเข้าอย่างโดยตรงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ใน Data Editor สามารถทำการ Copy และ Paste ข้อมูลในลักษณะของ Spread sheet ทั่วไปได้ ทำให้สะดวกต่อการใช้ป้อนข้อมูล

• เมนูสำหรับการวิเคราะห์ผลทางสถิติ
ในการวิเคราะห์นั้น จะใช้เมนู Statistics ดังรูป โดยจะมีเมนูย่อยที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางสถิติต่าง ๆ เช่นDescriptive Statistics, Compare Mean, General Linear Model, Correlation หรือ Regression เป็นต้น

https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgKAMYDYGczlSdkmEodIayLcgymzZaSsiP3KLzB9pdE0g7hGKiHaI1z23rP3299TLcDHdqYfOO0BIrMuUDrgn2qXvyHPIHYSm84cMMz8MwM04l8dCvY5qraIOzW0KvmTyS7ffK1-igHbXFb/s1600/INDEX_CLIP_IMAGE007.JPG

รูปที่ 1.10  เมนู Analyze สำหรับวิเคราะห์ผลทางสถิติ

สอนโปรแกรม SPSS






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น